วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฟังก์ชันขั้นบันได

     ฟังก์ชันขั้นบันได 
คือฟังก์ชันบนจำนวนจริงซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างฟังก์ชันคงตัวจากโดเมนที่แบ่งออกเป็นช่วงหลายช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะเป็นส่วนของเส้นตรงหรือรังสีในแนวราบเป็นท่อน ๆ ตามช่วง ในระดับความสูงต่างกัน   อ่านเพิ่มเติม


ฟังก์ชันกำลังสอง

   ฟังก์ชันกำลังสอง
ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป

y = ax^2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวน จริงใดๆ และ a ไม่เท่ากับ 0 ลักษณะของกราฟ ของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ a, b และ c เมื่อ a เป็นจำนวนบวกจะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้ง หงาย และเมื่อ a  อ่าเพิ่มเติม


ยูเนียน (Union)

    ยูเนียน (Union)

ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A B   อ่านเพิ่มเติม



สับเซต และ เพาเวอร์เซต

      สับเซต และ เพาเวอร์เซต
สับเซต (subset) หรือ เซตย่อย”  คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกับเซตที่กำหนดเท่านั้น    สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “ A เป็นสับเซตของ B” คือ  อ่านเพิมเติม





วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฟังก์ชันเชิงเส้น

     ฟังก์ชันเชิงเส้น (อังกฤษ: Linear function) อาจหมายถึง :
ในทางคณิตศาสตร์พิ้นฐาน[แก้]
ในคณิตศาสตร์พื้นฐาน ฟังก์ชันเชิงเส้น หมายถึง ฟังก์ชันหนึ่งในรูปร่าง เช่น  สาม สามการเส้นตรง สีแดง และ สีฟ้า ขนานกัน และเท่ากับ (m) ในขณะที่ สีแดง และ สีเขียว ตัวเส้นเค้า y ในจุดเดียวกัน ที่ (b)  อ่านเพิ่มเติม




สมบัติของการไม่เท่ากัน

    สมบัติของการไม่เท่ากัน
บทนิยาม                a < b หมายถึง a น้อยกว่า ba > b หมายถึง a มากกว่า b  
สมบัติของการไม่เท่ากันกำหนดให้ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ1.สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c

2.สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a > b แล้ว a + c > b+ c  อ่านเพิ่มเติม




สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

    สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
จำนวนจริง

จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้  อ่านเพิ่มเติม


การให้เหตุผลแบบนิรนัย

     การให้เหตุผลแบบนิรนัย

 การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อยข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผล   แบบนิรนัย  อ่านเพิ่มเติม


การให้เหตุผลแบบอุปนัย

      การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า อ่านเพิ่มเติม


เอกภพสัมพัทธ์

      เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดของสิ่งที่เราต้องการจะศึกษา สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) ในการพูดถึงเรื่องใดก็ตามในแง่ของเซต  เรามัก  อ่านเพิ่มเติม




ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

     ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง  อ่านเพิ่มเติม


จำนวนจริง

      จำนวนจริง จะประกอบไปด้วย

จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น 2 , √3, √5, -√2, - √3, -√5 หรือ ซึ่งมี  อ่านเพิ่มเติม


การให้เหตุผล

   การให้เหตุผล 

คำอธิบายหน่วยประวัติการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย และการให้เหตุผลแบบนิรนัย การตรวจสอบการอ้างเหตุผลแบบนิรนัยโดยใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์  อ่านเพิ่มเติม


เซต

      เซต (อังกฤษ: set) ในทางคณิตศาสตร์นั้น อาจมองได้ว่าเป็นการรวบรวมกลุ่มวัตถุต่างๆ ไว้รวมกันทั้งชุด แม้ว่าความคิดนี้จะดูง่ายๆ แต่เซตเป็นแนวคิดที่เป็นรากฐานสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของคณิตศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาโครงสร้างเซตที่เป็นไปได้ ทฤษฎีเซตมีความสำคัญและได้รับความสนใจอย่างมากและกำลังดำเนินไปอ อ่านเพิ่มเติม


ฟังก์ชันขั้นบันได

     ฟังก์ชันขั้นบันได  คือฟังก์ชันบนจำนวนจริงซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างฟังก์ชันคงตัวจากโดเมนที่แบ่งออกเป็นช่วงหลายช่วง กราฟของฟังก์ชันจ...